23.July.11 : สวทช

การบรรยาย :       สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ( สวทช )
                               National Science and Technology Development Agency


              โดย :        คุณบุญเลิศ อรุณพิบูรณ์
                               หัวหน้างาน งานพัฒนาและบริการสื่อสาร ดิจิทัล

-  -  -  -  -  - -  -  -  -  -  - -  -  -  -  -  - -  -  -  -  -  - -  -  -  -  -  - -  -  -  -  -





Cloud Computing

  •  เกิดขึ้นเพราะโลกนี้มีเงินน้อยลง
  •  ทุกการประชุมสัมนาในทั่วทั้งโลกใช้เรื่องนี้เป็น หัวข้อหลักในการประชุม
  • ความหมายในมิติที่ 1 - ที่ตั้ง
          คืออะไรก็ตามที่ผ่านเข้าไปในอินเตอร์เน็ต แล้วเราไม่รู้ว่ามันไปรวมกันอยู่จุดศูนย์กลางที่ไหนนั่น
          คือไม่ต้องรู้ว่ามันไปผ่านเครื่องใหน
  • ความหมายในมิติที่  2 - กลุ่มก้อน จะไม่เป็นกลุ่มก้อน จะอยู่กระจาย
  • ความหมายในมิติที่3-มืดมน  คือไม่รู้ว่ามันไปผ่านเซิฟเวอร์ตัวใหน เพราะมันกระจาย
Black April 
  • เป็นเดือนที่อเมริกาไฟดับทั้งประเทศ อินเตอร์เน็ตใช้งานไม่ได้ เซิฟเวอร์ล่ม ส่งผลไปทั่วโลก
 Cloud ระดับองค์กร
  • เช่น OCLC 
  • เป็นการตัดสินใจว่าเราจะบริการตัวเองหรือไปซื้อเซิฟเวอร์


Cloud ระดับบุคคล


เช่น gmail,Meebo,hotmail

แยกตามการให้บริการ


Public Cloud
Private Cloud
Hybird Cloud

แยกตามประเภทของเทคโนโลยี
  • Saas-Software as a service 
         ex. www.zoho.com,docs.google.com,Facebook,google
         เราไม่ต้องเขียนเอง
  • Iass-Infrastructure as a service
  • Paas-Platform as a service

Mobile Device

  • บริการต่างๆบนมือถือ
  • รู้จักผู้ใช้และพฤติกรรมจาก http://truehits.net/
  • Smart Phone : Java, Debain
  • eReader : 105
  • NetBook : windows
  • เมืองนอกจะมีบริการ เช่น ยืม-คืน บนมือถือ 

ดูลิงค์อื่นๆ   http://stks.or.th/elearning/
                   http://www.google.com/analytics/


Digital Content & Publishing

เน้น 3 อย่างคือ
1.การได้มาของเนื้อหา
2.กระบวนการผลิตคละรูปแบบ
3.ลิขสิทธิ์ต้นฉบับ การเผยแพร่



Crosswalk Metadata
  • เป็นชุดของ Metadata
  •  คือ การทำMetadata ที่มากกว่า 1 แบบ เช่น March+ Doublin Core
  •  http://www.siamrarebooks.com/    
  • รูปแบบ e-books.
  • .doc
  • .pdf
  • flip ebook
  • flash flip ebooks
  • epunlishing
  • .ePub  : เป็นนามสกุล ไม่ใช่รูปแบบของสิ่งพิมพ์ เป็นมาตฐานที่เกิดขึ้นใหม่ หนังสือจะอยู่บนชั้นได้ต้องเป็นนามสกุลนี้
     

Digital Multimedia Book.
Example Of Metadata
  • METS
  • MODS
  • PDF Metadata
  • DOC Metadata
  • MARC
  • MARCMC
  • Doublin Core
  • ISAD ( g) 
  • CDWA
  • RDF
  • OWL
  • XIF
  • XMD
  • TPCT
Open Technology
  • z39.5 คือ โปรแกรมที่คล้ายๆสำเร็จรูป มีช่องมาให้กรอกข้อมูลคล้ายๆ มาร์ค นิดหน่อย เป็นออโตเมติก มีมานานแล้ว คือสามารถลอกเอาของห้องสมุดอีกแห่งมาแปะได้เลยแลกเปลี่ยนข้อมูลบรรณานุกรมหนังสือผ่าน ILS  ห้องสมุดกับห้องสมุด
          ILS < ------- >  ILS 
  • z39.88 มี 2 ประเด็นใหญ่ๆ เกิดช้ากว่า
       
          ช่วยให้ข้อมูลบรรณานุกรมเหมือนกับ z39.5 แต่เป็นแบบห้องสมุดกับแอพอื่นๆ
          ILS < ------- > Apps
          การเพิ่มลำดับเว็บ/จัดลำดับเว็บ Webomertric
  • z39.88
  • OAI-PHM เป็นมาตรฐานที่อินเทรนด์ที่สุด ณ ตอนนี้ 
           มีแนวคิดคือ ทำ One Search
           OAI - PMH  < ------ One Search 
           ILS ,  DBs < -----> DBs, Apps 
         http://tnrr.in.th/beta/
           http://www.vijai.net เป็น One search เหมือนกันแต่ทำด้วยคิวลี่ (Web Query ) เหมือนกุเกิล 
           ไล่หาข้อมูลเอง
           One Search  ex. http:// tnrr.in.th  เว็บนี้ทำหน้าที่คือ โลกนี้มีข้อมูลอยู่ที่ไหนบ้าง ห้ามคีย์เข้าไป 
           คือไปดูดเอาข้อมูลของคนอื่นมารวมไว้ในที่เดียว เป็นซอร์ฟแวร์ออโตเมติก แต่จะตอบแค่
           เรื่องเดียว เช่น พิมพ์คำว่า ข้าว จะให้แต่เนื้อหา ข้าว ของที่ต่างๆแต่จะไม่บอกว่าเอามาจากใหน
           คือ มีกี่เว็บไม่รู้แต่ต้องเจอในเว็บนี้เว็บเดียว เช่นของ มช. เปิดเว็บ มช.เว็บเดียว แต่มีเว็บของ คณะ
           อื่นๆด้วย แต่ก็เป็นแนวคิดที่ค่อนข้างเกิดยากเพราะต้องปิดระบบเดิมเพื่อเปิดระบบ OAI
         

           
  • Linked Data -->Web/Web 3.0
            -Web 1.0 คือ ให้คนใดคนหนึ่งสร้างเว็บแล้วเราอ่านอย่างเดียว
            -Web 2.0 คือมีคนซื้อ เซิฟเวอร์ให้เราเข้าไปเขียนเองเช่น บล๊อกเกอร์
            -Web 3.0 คือ ลิงค์  ที่ตอบมาเลย ไม่ต้องหา ชัดเจน เป๊ะ หัวใจของมันคือ Semantic Web
            เ-ช่น ถ้าเข้า google  พิมพ์เชียงใหม่ห่างจากกรุงเทพกี่กิโลเมตร จะไม่เจอเราต้องไล่หาเอง
            -ถ้าเป็นSemantic Web จะป้อนเป็นประโยคได้ ไม่ใช่คำ
            -Ex. ในอนาคต google ต้องหาแบบSemantic ได้คือต้องเป็นประโยค  30 euro in baht
             -http://www.wolframalpha.com/ ประกาศตัวว่าเป็นเว็บต้นแบบของ 3.0



  • Metadata
     
  • Green Library  
       Global warming
      ...Green building
      ...Green ICT




8 july 11:บริการสอนการใช้











หน้าที่ของห้องสมุดทุกประเภท
ต้องจัดการให้ผู้ใช้มีโอกาสเข้าใจในระบบการจัดการสารสนเทศ..การแนะนำการใช้ห้องสมุด ถือเป็นหลักการแรกในการให้บริการ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศเพื่อช่วยตนเอง เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต


 Bibliographic Instruction (BT)
คือสอนวิธีการเข้าถึงสารข้อมูล สอนวิธีการเขียนบรรณานุกรม เป็นต้น

Information Literacy
เป็นการรู้สารสนเทศ คือการที่บุคคลได้รับการฝึกให้ สามารถประยุกต์สารสนเทศมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นความจำเป็นและมีความสำคัญในการใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาความรู้ความสามารถของมนุษย์ให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีระบบ มีวิจารณญาณและความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ใหม่ อันนำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต

1.       การแนะนำการใช้ห้องสมุด เช่น
  • การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ
  • การยืม-คืนหนังสือ
  • การยืมหนังสือต่อ (Renew)
  • การจองหนังสือ (Request)
  • การยืมระหว่างห้องสมุด (Book Delivery)
  • ฯลฯ
2.       การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์
3.       การจัดทำรายการบรรณานุกรม ได้แก่ โปรแกรม EndNote และการพิมพ์วิทยานิพนธ์
    
Literacy
คือความพยายามโบราณที่ให้ประชาชนจะต้องอ่านหนังสืออก เขียนได้ในระดับที่พอที่จะใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้
Computer Literacy
เริ่มต้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 หมายถึงการที่บุคคลมีความรู้ความเข้าใจ คุณสมบัติ และ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์กับงานของตนเข้ามาด้วย

การส่งเสริมการรู้สารสนเทศในสถาบันการศึกษา
·       การส่งเสริมในต่างประเทศ
อังกฤษ : กำหนดทักษะ 7 ประการในการรู้สารสนเทศในระดับอุดมศึกษา
นิวซีแลนด์ : ได้กำหนดให้ทักษะการรู้สารสนเทศเป็นทักษะที่สำคัญใน 8 ทักษะสำหรับนักเรียน
สิงคโปร์ : กระทรวงการศึกษา จัดทำคู่มือ แนะแนววิธีการสอน การประเมิน รวมทั้งมาตรฐานทักษะการรู้สารสนเทศที่พึงประสงค์
ทักษะของผู้รู้สารสนเทศ
1.มีความตระหนักในประโยชน์ของสารสนเทศ
2.รู้วิธีการเข้าถึง
3.รู้ว่าจะค้นจากแหล่งใด
4.สามารถเอามานำเสนอได้
5.ใช้สารสนเทศอย่างมีจริยธรรม
6.มีความสามารถในการวิเคราะห์สารสนเทศ
7.มีทักษะอื่นที่เกี่ยวข้องกับการรู้สารสนเทศ เช่น การรู้คอมพิวเตอร์ 

5 July 11 :บรินำส่งเอกสาร













บริการนำส่งเอกสาร(Document Delivery Services) หรือ D.


 เป็นบริการส่งเอกสารที่ยืม - คืน หรือยืมต่อของสมาชิก โดยที่สมาชิกไม่ต้องไปยืม - คืนด้วยตนเอง เพียงแต่รอรับเอกสารที่ห้องสมุดคณะ/สถาบัน/สำนัก ภายในมหาวิทยาลัยที่ผู้ใช้สะดวกมากที่สุด 
  • การจัดหาเอกสารที่ผู้ใช้ต้องการทั้งเอกสารที่พิมพ์เผยแพร่และยังไม่ได้เผยแพร่
  • จัดส่งในรูปแบบกระดาษหรือวัสดุย่อส่วนหรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ด้วยวิธีการส่งที่มีคุณภาพ
  • มีการคิดค่าบริการ บริการนี้เกี่ยวข้องกับลิขสิทธิ์ ผู้บริการต้องขออนุญาตเจ้าของก่อนและเสียค่าลิขสิทธิ์ก่อนทำสำเนาถึงลูกค้าด้วย

ปรัชญาของบริการ ILL
  • ไม่มีห้องสมุดใดจัดหาทรัพยากรเพื่อสนองตอบผู้ใช้ได้สมบูรณ์แบบ
  • ความร่วมมือเป็นพื้นฐานของการจัดบริการILL
  • สนองความต้องการของผู้ใช้
  • เพิ่มศักยภาพในการทำงาน
  • Just in time ทันกาล
วิธีการนำส่ง
  • ทางไปรษณีย์
  • ทางโทรสาร
  • ยานพาหนะ
  • ส่งทางอิเล็กทรอนิกส์
  • Ariel Interlibrary Loan Software
        - Scan บีบอัดข้อมูลร้อยละ 10 ส่งไปยังปลายทางที่ต้องมีโปรแกรมร่วมกัน

  • Electronic Document Delivery services
ผู้ให้บริการ
·       สถาบันสารสนเทศ
1.)การจัดส่งในสถาบัน
-ทาง e-mail
-ทางระบบ online
-ยานพาหนะ
2.)การจัดส่งระหว่างสถาบันตามข้อตกลงร่วมกัน
·       ตัวแทนจัดหาและจัดส่งสารสนเทศ
-ผู้ให้บริการทั่วไป Ingenta
-ผู้ให้บริการเฉพาะด้านสาขา UMI Thesis
-ผู้ให้บริการที่เป็นสำนักพิมพ์ Springer Link
-ผู้ให้บริการที่เป็นนายหน้าค้าสารสนเทศ

การดำเนินการ
-เป็นแบบ Manual  แบบฟอร์มDD กระดาษ อัตโนมัติ
-เป็นแบบ Online สมัครสมาชิก
ข้อคำนึงในการให้บริการ DD
1.ลิขสิทธิ์
2.ค่าใช้จ่ายในการนำส่งเอกสาร คำสำเนา ค่าส่ง บุคลากร
3.การเข้าถึงและกรรมสิทธิ์
4.ความสามารถในการเข้าถึงต่างระบบ




ตัวอย่างบริษัทส่งเอกสา


http://www.outsourcingfactory.co.th/
http://vfs-au.net/Thai/courierapplication.html









รายการอ้างอิง http://library.cmu.ac.th/cmul_2009/delivery.html


28 june 11: บริการ ILL






ILL  : Inter-Library Loan (บริการยืมระหว่างห้องสมุด)

เป็นบริการของห้องสมุดที่จะทำการจัดยืม สำเนสเอกสาร หรือวัสดุจากห้องสมุดอื่นมาบริการแก้ผู้ใช้บริการของห้องสมุดของตนทั้งในและต่างประเทศ



ปรัชญาของบริการ ILL
  • ไม่มีห้องสมุดใดจัดหาทรัพยากรเพื่อสนองตอบผู้ใช้ได้สมบูรณ์แบบ
  • ความร่วมมือเป็นพื้นฐานของการจัดบริการILL
  • สนองความต้องการของผู้ใช้
  • เพิ่มศักยภาพในการทำงาน
  • Just in time 
  • ·       เน้นสำหรับนักวิจัย สำหรับผู้ใช้ที่ต้องการข้อมูลในเชิงลึก
  • ·       วัตถุประสงค์คือ ส่งเสริมการศึกกาและการวิจัยในเชิงลึก
  • ·       ให้บริการคงเดิมในราคาที่ถูกหรือลงทุนน้อย
  • ·       ให้บริการ 2 อย่างคือ
   1. ขอยืม (Borrowing)
   2.ให้ยืม (Lending)


องค์ประกอบการบริการยืมระหว่างห้องสมุ

  • ·       การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ
  • ·       การสร้างข้อตกลงความร่วมมือในการบริการการยืมระหว่างห้องสมุด
  • ·      แบบฟอร์มการยืม
  • ·       สมาชิกเครือข่าย
  • ·       มีเครือข่าย2 ระดับ
   1.Primary Intra ILL
·       2.Inter ILL

การดำเนินงานบริการยืม-คืนระหว่างห้องสมุด
  • ·       Union Catalog
  • ·       จัดทำคู่มือการใช้
  • ·       การกำหนดมาตรฐานร่วมมือกัน
  • ·       กำหนดรูปแบบการดำเนินงาน การประสานงาน
  • ·       ห้องสมุดที่ให้บริการเป็นผู้กำหนดนโยบายพิเศษ สำหรับวิธีการยืมระหว่างห้องสมุดว่าให้ยืมในระดับไหน
  • ·       มีคณะกรรมการควบคุมการดำเนินงาน ปรับปรุง พัฒนา

การสำรวจ
ต้องสำรวจสิทธิของผู้ใช้ว่ามีสิทธิ์ในการยืมหรือไม่ และเป็นไปได้ไหมที่จะสามารถให้ผู้ใช้ยืมทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อ
ป้องกันกับปัญหาลิขสิทธิ์

กา    การดำเนินงานบริการยืมระหว่างห้องสมุ
  • ·       Non-automated ILL
                   เช่น ไปรษณีย์ , e-Mail  , โทรศัพท์ ,

ยุ่งยากในการยืมเพราะต้องผ่านหลายขั้นตอน
เช่น  สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


  • ·       Automated ILL


การยืมแบบออนไลน์
ผู้ใช้เข้าถึงสารสนเทศได้มากขึ้น รวดเร็ว และค่าใช้จ่ายน้อย

ารคิดค่าบริกา
·       คิดค่าบริการพิเศษ เช่น ค่าค้นฐานข้อมูล ค้นข้อมูลออนไลน์ ค่าประกันความเสียหาย หรือให้ชดใช้ในกรณีสูญหาย
·       ค่ายืมฉบับจริง 100บาท /เล่ม
·       ค่าสำเนาเอกสาร 2 บาท / หน้า
·       ค่าสแกน ส่งทางระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ข้อความหน้าละ 10 บาท
·       ค่าส่งเอกสารตามใบแจ้งราคา

ลักษณะการให้บริการ
1. การขอยืมฉบับจริง ในกรณีที่ห้องสมุดที่มีเอกสารอนุญาตให้ยืมฉบับจริงได้ เช่น หนังสือทั่วไป ฯลฯ
2. การขอสำเนาเอกสาร ในกรณีที่ห้องสมุดที่มีเอกสารไม่อนุญาตให้ยืมฉบับจริง เช่น บทความวารสาร วิทยานิพนธ์ ฯลฯ
3. การขอสแกนเอกสาร กรณีเอกสารที่ต้องการมีจำนวนไม่เกิน 20 หน้า และต้องการใช้เร่งด่วน
  

ส        รายการที่ไม่มีลิขสิทธิ์
  • ·       ข่าวประจำวัน
  • ·       รัฐธรรมนูญกฎหมาย
  • ·       ระเบียบ ข้อบังคับ
  • ·       คำพิพากษา
  • ·       คำแปลและสิ่งต่างๆที่เกี่ยวกับข้อกฎหมาย


  • รายการอ้างอิง http://tanee.psu.ac.th/index.php?option=com_content&task=view&id=220&Itemid=100








21 june 20111 : ค่าปรับและ บัตรสมาชิก

วัตถุประสงค์ในค่าปรับ
  • ·       เพื่อกระจายการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศให้ผู้ใช้งานรายอื่น
  • ·       การมีความรับผิดชอบและสร้างความรับผิดชอบ
  • ·       กระตุ้นให้มีการส่งคืนตามเวลาที่กำหนด

การกำหนดค่าปรับ
  • ·       จำนวนแตกต่างกัน
  • ·       การยืมระยะสั้นจะกำหนดให้ค่าปรับสูงกว่าการยืมระยะยาว
  • ·       ค่าปรับแต่ละประเภทของทรัพยากรจะมีความแตกต่างกัน
  • ·       ควรส่งเอกสารแจ้งเตือนวันส่ง

การจัดการปัญหาในการปรับ
  • ·       ต้องยึดหลักการไว้เสมอว่า ไม่หากำไรจากผู้ใช้
  • ·       หลักการคือ ปรับให้น้อยที่สุดแต่ให้หนังสือกลับมาห้องสมุดมากที่สุด
  • ·       มีการยกเว้นค่าปรับหรือผ่อนผันได้
  • ·       หากไม่ส่งคืนและไม่จ่ายค่าปรับสิทธิการใช้ห้องสมุดจะถูกริบ
  • ·       บางห้องสมุดอาจใช้บริการติดตาม (น้อยมากที่จะใช้บริการนี้)
  • ·       ห้องสมุดมหาลัยอาจทำเรื่องขอระงับการออก Transcripts หรือระงับการอนุมัติการสำเร็จการศึกษา
  • ·       การกำหนด grace period ควรให้สอดคล้องกับระยะเวลาการยืม
  • ·       หลังกำหนด grace period แล้วควรกำหนดค่าปรับเป็นจำนวนที่กำหนดโดยไม่นับตามจำนวนค่าปรับจริง
  • ·       หากมีหนังสือที่ยังไม่ได้ชำระเงินตามที่กำหนด จะไม่อนุญาตให้ยืมทรัพยากรอื่นๆได้
  • ·       ต้องประกาศแจ้งขอความร่วมมือ
  • ·       มีการแจ้งเตือนเป็นระยะๆ ก่อนดำเนินการใดๆในการจำกัดสิทธิ

การจ่ายค่าปรับ

  • ·       จ่ายที่บริการยืม-คืน
  • ·       จ่ายระบบอัตโนมัติ
  • ·       เปิดให้มีการผ่อนผัน
  • ·       ส่งค่าปรับให้มหาลัยและทำโครงการขอใช้งบประมาณจากเงินค่าปรับ




ค่าสมาชิกและค่าธรรมเนียม
·       ห้องสมุดต้องกำหนดค่าธรรมเนียมเพื่อสำหรับหนังสือที่เสียหายและต้องแจงรายละเอียดให้สมาชิกฟังและอย่าลืมว่าต้องไม่เอากำไร

จริยธรรมในการปรับ
·       ต้องให้การบริการอย่างยุติธรรมถูกต้อง เกื้อหนุนให้มีการหมุนเวียนเพื่อให้ได้ใช้อย่างทั่วถึง

การจัดชั้น
  • ·       ต้องมีการเตรียมหนังสือขึ้นชั้นทุกเทอม ตรวจสอบว่าหนังสือหายหรือไม่ หนังสืออยู่ไหน
  • ·       กำหนดให้ทุกเดือนต้องมีการ Shelf-reading ( ดูว่าหนังสือหายหรือไม่ ดูที่บัตรรายการ )
  • ·       ต้องสำรวจหนังสือที่ได้รับความนิยมและนำขึ้นชั้นแยกต่างหาก



การจัดเก็บทะเบียนผู้ใช้
·       เพื่อจำแนกว่าใครบ้างที่มีสิทธิ์ในการยืมทรัพยากรสารสนเทศหรือใช้บริการ
·       เพื่อจัดเก็บข้อมูลของผู้ใช้บริการ

บัตรสมาชิ


  • ·       บัตรพลาสติก





  • ·       บัตรแถบแม่เหล็ก





  • ·       บัตรอัจฉริยะ